มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
เรื่อง การให้ใช้มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
ฉบับลงวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2559 มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาพ.ศ.2559
มีจำนวน 4 มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน
1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
มาตรฐานที่ 4 ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล
แต่ละมาตรฐานมีรายละเอียด
ดังนี้
มาตรฐานที่
1
คุณภาพของผู้เรียน
1.1
ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
1) ความสามารถในการอ่าน เขียน
การสื่อสาร และการคิดคำนวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น
2) ความสามารถในการคิดวิเคราะห์
คิดวิจารณญาณ อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและ
แก้ปัญหา
3)
ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
4) ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
5)
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ
6)
ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรือการทำงาน
1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
1)
การมีคุณลักษณะและค่านิยมที่ดีตามที่สถานศึกษากำหนด โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีงานของสังคม
2)
ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
3)
การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
4) สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคม
มาตรฐานที่
2
กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
1. การมีเป้าหมาย
วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
2. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
2.1
การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพของผู้เรียนรอบด้าน
ทุกกลุ่ม
เป้าหมาย
และดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม
2.2
การวางแผนและดำเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
2.3
การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
2.4
การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
3. การมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย
และการร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพ
และได้มาตรฐาน
4. การกำกับ ติดตาม
ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่
3
กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
1. การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม
2. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น
3. การตรวจสอบและประเมินความรู้
ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ
มาตรฐานที่
4
ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล
การใช้ระบบประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น